วันอาทิตย์ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2559

Recorded Diaryครั้งที่ 3 ประจำวันศุกร์ ที่ 29.01.59

   
                                

                                                             





1.ความรู้ที่ได้รับ (Knowledge)
 เรียนประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ แบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆคือ 
1.กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความสามารถสูง มีความเป็นเลิศทางสติปัญญาเรียกโดยทั่วๆไปว่า  " เด็กปัญญาเลิศ "
 เด็กปัญญาเลิศ (Gifted Child)




  • เด็กที่มีความสามารถทางสติปัญญา
  • มีความถนัดเฉพาะทางสูงกว่าเด็กในวัยเดียวกัน

  • ตัวอย่างเด็กปัญญาเลิศ
 Kin Ung-Yong  เด็กเกาหลีใต้ IQ 213 


Akrit Jaswal เป็นชาวอินเดีย และได้รับการขนานนามว่า เด็กผู้ชายที่ฉลาดที่สุดในโลก เพราะ
มี IQ ถึง 146 และได้รับการยอมรับว่าเป็นคนที่ฉลาดที่สุดในเด็กที่มีอายุเท่า ๆ กัน





เด็กอัจฉริยะเมืองไทย    ธนัช เปลวเทียนยิ่งทวี
ที่โด่งดังไปทั่วโลกนั่นคือความสามารถทางด้านศิลปะ
ธนัช ได้ชื่อว่าเป็น จิตรกรวาดภาพสีน้ำในแนวนามธรรมที่มีอายุน้อยที่สุดในโลก ที่สามารถจัดนิทรรศการแสดงผลงานศิลปะเดี่ยว และสามารถจำหน่ายผลงานในขณะแสดงนิทรรศการได้จำนวนมาก ในวัยเพียง 3 ขวบครึ่ง







ลักษณะของเด็กปัญญาเลิศ

  • พัฒนาทางร่างกายและจิตใจสูงกว่าเด็กในวัยเดียวกัน
  • เรียนรู้สิ่งต่างๆได้อย่างรวดเร็วและง่ายดาย
  • อยากรู้อยากเห็นอย่างจริงจังชอบซักถาม
  • จดจำได้รวดเร็วและแม่นยำ


**เด็กฉลาด                                                                                         **Gifted
ตอบคำถาม                                                                                           ตั้งคำถาม
สนใจเรื่องที่ครูสอน                                                                              เรียนรู้สิ่งที่สนใจ
ความจำดี                                                                                               เบื่อง่าย
เรียนรู้ง่ายและเร็ว                                                                                  ชอบเล่า
พอใจผลงานของตน                                                                             ติเตียนผลงานของตน



2.กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความบกพร่อง
1.เด็กที่บกพร่องทางสติปัญญา
2.ด็กที่บกพร่องทางการได้ยิน
3.ด็กที่บกพร่องทางการเห็น
4.ด็กที่บกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ
5.ด็กที่บกพร่องทางการพูดและภาษา
6.ด็กที่บกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์
7.ด็กที่บกพร่องทางการเรียนรู้
8.เด็กออทิสติก
9.เด็กพิการซ้ำซ้อน



1.เด็กที่บกพร่องทางสติปัญญ (Children With Intellectual Disadilities)
หมายถึง เด็กที่มีระดับสติปัญญาหรือเชาว์ปัญญาต่ำกว่าเกณฑ์เฉลี่ยเมื่อเทียบเด็กในระดับอายุเดียวกัน มี 2 กลุ่ม คือ เด็กเรียนช้า และ เด็กปัญญาอ่อน

เด็กเรียนช้า 

  • สามรถเรียนรู้ในชั้นเรียน
  • ขาดทักษะในการเรียนรู้

-มีระดับสติปัญญา IQ ประมาณ 71-90 

สาเหตุของการเรียนช้า
**ภายนอก                                                                                            **ภายใน

-เศรษฐกิจของครอบครัว                                                             -พัฒนาการช้า
-สร้างเสริมประสบการณ์ของคนให้แก่เด็ก                                -การเจ็บป่วย




   
                                                                    เด็กปัญญาเลิศ



  • ระดับสติปัญญาต่ำ
  • พัฒนาการล่าช้าไม่เหมาะสมกับวัย
  • มีพฤติกรรมการปรับตนบกพร่อง
  • อาการแสดงก่อนอายุ 18


                                                                  เด็กปัญญาอ่อน
  


แบ่งตามระดับสติปัญญา (IQ) ได้4กลุ่ม
  • เด็กปัญญาอ่อนขนาดหนักหนักมาก IQ ต่ำกว่า20
  • เด็กปัญญาอ่อนขนาดหนัก IQ 20-34
  • เด็กปัญญาอ่อนขนาดปานกลาง IQ 35-49
  • เด็กปัญญาอ่อนขนาดน้อย IQ 50-70


ดาวน์ซินโดรม (Down Syndrome)



สาเหตุ 

  • ความผิดปกติของโครดมโซมคู่ที่ 21
  • ที่พบบ่อยคือโครโมโซมคู่ที่ 21 เกินมา 1 แท่ง  ( TRisomy 21 )
อาการ
  • ศรีษะเล็กและแบน คอสั้น
  • หน้าแบน ดั้งจมูกแบน
  • ตาเฉียง ปากเล็ก
  • มือแบนกว้าง นิวมือสั้น

การตรวจวินิจฉัยก่อนคลอดกลุ่มอาการดาวน์






  • การเจาะเลือดของมารดาในระหว่างที่ตั้งครรภ์
  • อัลตราซาวน์
  • การตัดชิ้นเนื้อรก
  • การเจาะน้ำคร่ำ
2.เด็กที่บกพร่องทางการได้ยิน
( Childdren With Hearing Impaired )







หมายถึงเด็กที่มีความบกพร่องหรือสูญเสียการได้ยินเป็นเหตุให้การรับฟังเสียงต่างๆได้ไม่ชัดเจนมี 2 ประเภทคือ เด็กหูตึง และเด็กหูหนวก

3.เด็กที่บกพร่องทางการการเห็น
( Childdren With Visual Impairments )






  • เด็กที่มองไม่เห็นหรือพอเห็นแสงเห็นเลือนลาง
  • มีความบกพร่องทางสายตาทั้งสองข้าง
  • สามารถเห็นได่ไม่ถึง 1/10 ของคนสายตาปกติ
  • มีลานตาสายตาโดยเฉลี่ยอย่างสูงสุดกว้างไม่เกิน 30 องศา
จำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือเด็กตาบอด และเด็กตาบอดสนิท 

ลักษณะของเด็กบกพร่องทางการเห็น
  • เดินงุ่มง่าม ชนและสะดุดวัตถุ
  • มองเห็นสีผิดไปจากปกติ
  • มักบ่นว่าปวดศรีษะ
  • ตาและมือไม่สัมพันธ์กัน


2.skills (ทักษะ)


ศึกษาฟังเพื่อให้ได้ใจความและเกิดความเข้าใจการจับประเด็นสำคัญๆ
3.Apply(การประยุกต์ใช้)
นำไปเป็นแนวทางที่เราจะนำไปจัดกิจกรรมแผนในการเรียนการสอนเพื่อบูรณาการได้ในอนาคตเป็นเนวทางที่เราจะจัดกิจกรรมในการเรียนการสอน

4.technique  (เทคนิคที่อาจารย์ใช้สอน)
การถามประสบการณ์ดิมลนำมาเชื่อมโยงกับความรู้ใหม่ การใช้คำถาม เพื่อให้นักศึกษาได้คิดพิจารณาอย่างมีเหตุผล การจับประเด็นที่เป็นประโยชน์และสำคัญๆเพื่อให้เกิดความเข้าใจง่ายยิ่งขึ้น

 5.assessment (ประเมิน)


ตัวเอง      แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลามีส่วนร่วมในการตอบคำถาม

เพื่อน        แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียน 

อาจารย์     เเต่งกายสุภาพ เข้าสอนตรงเวลา สอนให้ความรู้อย่างเต็มที่ ฝึกให้เราได้ใช้ความคิดเเละการหาคำตอบ ส่งเสริมให้ทุกคนมีส่วนร่วมในห้องเรียน

ห้องเรียน    ห้องเรียนสะอาด เก้าอี้เพียงพอต่อนักศึกษา








วันพุธที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2559

Recorded Diaryครั้งที่ 2 ประจำวันศุกร์ ที่ 22.01.59

                    




                                        1. The knowledge gained (ความรู้ที่ได้รับ)


                         





  • เด็กที่มีความต้องการพิเศษ ( Children With Special Need  )
  • เด็กปฐมวัยที่มีความต้องการพิเศษ
  • ความหมายของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ








1.มักจะเรียกเด็กที่มีความต้องการพิเศษว่า " เด็กพิการ "
หมายถึง เด็กที่มีความผิดปกติมีความบกพร่อง สูญเสียสมรรถภาพ อาจเป็นความผิดปกติ ความบกพร่องทางกาย การสูญเสียสมรรถภาพทางสติปัญญา ทางจิตใจ 

2.ทางการศึกษา หมายถึง เด็กที่มีความต้องการทางการศึกษาเฉพาะของตัวเอง ซึ่งจำเป็นต้องจัดการศึกษาให้ต่างไปจากเด็กปกติทางด้านเนื้อหา กระบวนการที่ใช้และการประเมินผล


พฤติกรรมและพัฒนาการของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ

  • การเปลี่ยนแปลงในด้านการทำหน้าที่และวุฒิภาวะของอวัยวะต่างๆรวมทั้งตัวบุคคล
  • ทำให้สามารถทำหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น


เด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ

  • เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้ากว่าเด็กปกติในวัยเดียวกัน
  • พัฒนาการล่าช้าอาจพบเพียงด้านใดด้านหนึ่ง หลายด้านหรือทุกด้าน
  • พัฒนาการล่าช้าในด้านใดด้านหนึ่งอาจจะส่งผลให้พัฒนาการในด้านอื่นล่าช้าด้วยก็ได้


ปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการเด็ก

  • ปัจจัยทางด้านชีวภาพ
  • ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมก่อนคลอด
  • ปัจจัยด้านกระบวนการการคลอด
  • ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมหลังคลอด


สาเหตุที่ทำให้เกิดความบกพร่องทางพัฒนาการ
1.พันธุกรรม
2.โรคของระบบประสาท
3.การติดเชื้อ
4.ความผิดปกติเกี่ยวกับเมตาบอลิซึม
5.ภาวะแทรกซ้อนระยะแรกเกิด
6.สารเคมี
7.การเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสมรวมทั้งการขาดสารอาหาร
8.สาเหตุอื่นๆ

อาการของเด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ 

  • มีพัฒนาการล่าช้าซึ่งอาจจะพบมากกว่า1ด้าน
  • ปฎิกิริยาสะท้อน (Primitive Reflex) ไม่หายไปแม้จะถึงช่วงอายุที่ควรจะหายไป


แนวทางการวินิจฉัยเด็กที่มีความบกพร่องทางพัฒนาการ
1.การชักประวัติ
2.การตรวจร่างกาย
3.การสืบค้นทางห้องปฎิบัติการ
4.การประเมินพัฒนาการ

การประเมินที่ใช้ในเวชปฎิบัติ

  • แบบทดสอบ Denver II
  • Gesell Drawing Test
  • แบบประเมินพัฒนาการเด็กตามคู่มือส่งเสริมพัฒนาการเด็ก อายุแรกเกิด -5 สถาบันราชานุกูล





 2.ทักษะ (skill)

                                                   

  •    การสืบค้นหาข้อมูลสำหรับเด็กปฐมวัย 
  •    ทีสามารถนำมาปรับใช้ในการสอนเด็กปฐมวัยได้    


**ทำกิจกรรมหลังการเรียน**
วัดระดับไอคิวตั้งแต่ ชั้นป.1 - ป.6














  3.การนำไปใช้ (Application)

 
นำไปใช้ในเวลาจะออกแบบการสอน และนำไปพัฒนาด้านสติปัญญารของเด็กให้ดียิ่งขึ้น

และวางแผนมาอย่างระบบในการที่จะสอนในแต่ละครั้ง



 4.assessment (ประเมิน)

ประเมินตัวเอง เเต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา

ประเมินพื่อน  
เข้าเรียนตรงเวลา เเต่งกายเรียบร้อย ตอบคำถามในห้องอย่างสนุกสนาน 
ทุกคนมีส่วนร่วมกับการเรียน

ประเมินห้องเรียน ห้องเรียนสะอาด อุปกรณ์การเรียนครบ

ประเมินอาจารย์  แต่งกายสุภาพ  บรรยายในเนื้อหาเข้าใจง่าย ยกตัวอย่างประกอบที่ชัดเจน สอนสนุก








Recorded Diaryครั้งที่ 1 ประจำวันศุกร์ ที่ 15/01/59




บันทึกการเรียนครั้งที่ 1







1. The knowledge gained (ความรู้ที่ได้รับ)


คุณครูแจกใบบันทึกการเข้าเรียน



คุณครูทบทวนความรู้เดิมและให้ทำแบบฝึกหัดก่อนเรียน 









2.From what has been learned.(สิ่งที่ได้รับจากการเรียนรู้)


ทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับเนื้อหาสาระที่เรียนมา และเนื้อหาที่จะนำไปสู่บทเรียนครั้งต่อไป









ประเภทความพิการทางการศึกษาไว้ 9 ประเภท ได้แก่
(1) บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเห็น       
(2) บุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
(3) บุคคลที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา   
(4) บุคคลที่มีความบกพร่องทางร่างกาย หรือการเคลื่อนไหว หรือสุขภาพ
(5) บุคคลที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้
(6) บุคคลที่มีความบกพร่องทางการพูดและภาษา
(7) บุคคลที่มีความบกพร่องทางพฤติกรรม หรืออารมณ์
(8) บุคคลออทิสติก
(9) บุคคลพิการซ้อน




3. assessment (ประเมิน)

ตัวเอง เเต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา

เพื่อน เข้าเรียนตรงเวลา เเต่งกายเรียบร้อย ตอบคำถามในห้องอย่างสนุกสนาน 
ทุกคนมีส่วนร่วมกับการเรียน

ห้องเรียน ห้องเรียนสะอาด

อาจารย์  แต่งกายสุภาพ  บรรยายในเนื้อหาเข้าใจ
ง่าย