วันอาทิตย์ที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

Recorded Diary ครั้งที่ 5 ประจำวันศุกร์ ที่ 12.02.59


                                                                                
                                   

1.ความรู้ที่ได้รับ (Knowledge)
ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
6.เด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียน  (Children With Learning Disabilities )


  • เรียกย่อๆว่า L.D ( Learning Disabilities )
  • เด็กที่มีปัญญาทางการเรียนรู้เฉพาะทาง
  • ไม่นับรวมเด็กที่มีปัญหาเพียงเล็กน้อยทางการเรียนเด็กที่มีปัญหาเนื่องจากการพิการหรือความบกพร่องทางร่างกาย
สาเหตุของ LD
  • ความผิดปกติของการทำงานของสมองที่ไม่สามารถถอดรหัสตัวอักษรออกมาได้ (เชื่อมโยงภาพอักษรเข้ากับเสียงไม่ได้)
  • กรรมพันธุ์



1.ด้านการอ่าน ( Reading Disorder )
  • หนังสือช้า สะกดทีละคำ 
  • ไม่เข้าใจเนื้อหาที่อ่าน
ลักษณะของเด็ก LD ด้านการอ่าน
  • อ่านช้า อ่านคำต่อคำ
  • อ่านออกเสียงไม่ชัดเจน
  • เดาคำอ่านเวลา
2.ด้านการเขียน ( Writing Disaorder )
  • เขียนตัวหนังสือผิด
  • เขียนตามการออกเสียง
  • เขียนสลับ
ลักษณะของเด็ก LD ด้านการเขียน
  • ลากเส้นๆวนๆไม่รู้จะม้วนเข้าหรือม้วนออก
  • เรียงตัวอักษรผิด
  • เขียนพยัญชนะ หรือตัวเลขสลับกัน

3.ด้านการคิดคำนวณ
  • ตัวเลขผิดลำดับ
  • ไม่เข้าใจเรื่องการทดเลข
  • ไม่เข้าหลักเลขหน่วย สิบ ร้อย 
  • แก้โจทย์ปัญหาเลขไม่ได้
ลักษณะของเด็ก LD ด้านการคำนวณ 
  • ไม่เข้าใจค่าของตัวเอง
  • จำสูตรคูรไม่ำด้
  • ไม่เข้าใจเรื่องเวลา
  • เขียนเลขสลับกัน
4.หลายๆด้านร่วมกัน
  • อาการที่มักเกิดร่วมกับเด็ก LD 
  • แยกแยะขนาดสีและรูปร่างไม่ออก
  • มีปัญหาความเข้าใจเกี่ยวกับเวลา
  • สมาธิไม่ดี

7.ออทิสติก ( Autistic )



** ไม่สบตา ไม่พาที ไม่ชี้นิ้ว **

  • ทักษะภาษา
  • ทักษะทางสังคม
  • ทักษะการเคลื่อนที่
  • ทักษะการรับรู้เกี่ยวกับรูปทรง ขนาดและพื้นที่ 



ลักษณะของเด็กออทิสติก
  • อยู่ในโลกของตนเอง
  • ไม่เข้าไปหาใครก่อนเพื่อให้ปลอบใจ
  • ไม่ยอมพูด
  • เคลื่อนไหวแบบซ้ำ

เกณฑ์การวินิจฉัยออทิสติกองค์การอนามัยโลกและสมาคมจิตแพทย์อเมริกา
  • ความผิดแกติของปฎิสัมพันธ์ทางสังคมอย่างน้อย 2 ข้อ
  • ความผิดปกติด้านการสื่อสารอย่างน้อย 1 ข้อ
  • มีพฤติกรรม ความสนใจ และกิจกรรมที่ซ้ำๆและข้อจำกัด อย่างน้อย 1 ข้อ
พฤติกรรมซ้ำ
  • นั่งเคาะโต๊ะ
  • นั่งโยกหน้าโยกหลังเป็นเวลานาน
  • วิ่งเข้าห้องนั้นห้องนี้

                       Autistic Savant
  • กลุ่มที่คิดด้วยภาพ Visual thinke
  • จะใช้การคิดแบบอุปนัย ( Bottom up thinking )
  • กลุ่มที่คิดโดยไม่ใช่ภาพ Music Math and memory thinker
  • จะใช้เวลาคิดแบบนิรมัย ( top down thinking )

                             
 assessment (ประเมิน)

การประเมินตนเอง
 มาเรียนตรงต่อเวลา ตั้งใจเรียนดี  แต่งกายถูกระเบียบเรียบร้อบ
การประเมินเพื่อน
  แต่งกายถูกระเบียบ มาเรียนตรงต่อเวลา ตั้งใจเรียน ตั้งใจจดบันทึกและช่วยกันตอบคำถาม
การประเมินห้องเรียน

ห้องเรียนสะอาดดี  อากาศเย็นสบาย
การประเมินอาจารย์
 มาสอนตรงเวลา แต่งกายสุภาพ   สอนสนุกเข้าใจง่าย 



                               ** Happy Birth Day คุณครูเบียร์ **





















วันจันทร์ที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

Recorded Diary ครั้งที่ 4 ประจำวันศุกร์ ที่ 5.02.59

         


                                        



ประเภทของเด็กที่มีความบกพร่อง



4.เด็กที่มีความบกพร่องทางทางการการพูดและภาษา
 ( Children With Speech And Language Disoorders)

เด็กที่มีความบกพร่องทางการพูด หมายถึง เด็กที่มีความบกพร่องซึ่งเกิดจากการพูดผิดปกติด้านความชัดเจนในการปรับปรุงแต่งระดับและคุณภาพของเสียง จังหวะและขั้นตอนของเสียงพูด

1.ความบกพพร่องในด้านการปรับปรุงเสียง
  • เสียงบางส่วนของคำขาดหายไป ''ความ '' เป็น '' คาม ''
  • ออกเสียงของตัวอื่นแทนที่ถูกต้อง "กิน"  "จิน" กวาด ฟาด
  • เพิ่มเสียงที่ไม่ใช่เสียงที่ถูกต้องลงไปด้วย "หกล้ม" เป็น หก- กะ- ล้ม
  • เสียงเพี้ยนหรือแปล่ง "แล้ว" เป็น "แล่ว"

2.ความบกพร่องของจังหวะและขั้นตอนของเสียงพูด
 ( Speech Flow Disorders )
  • พูดไม่ถูกต้องตามลำดับขั้นตอน
  • การเว้นวรรคตอนไม่ถูกต้อง
  • อัตราการพูดเร็วหรือช้าเกินไป
  • จังหวะของเสียงพูดผิดปกติ     
                   

3.ความบกพร่องของเสียงพูด
 ( Voice Disorders )
  • ความบกพร่องระดับเสียง
  • เสียงดังหรือค่อยเกินไป
  • คุณภาพของเสียงไม่ดี            


ความบกพร่องทางภาษา หมายถึง การขาดความสามารถที่จะเข้าใจความหมายของคำพูด
 และ / หรือไม่สามารถแสดงความคิดออกมาเป็นถ้อยคำ
1.การพัฒนาการทางภาษษช้ากว่าวัย ( Delayed Language )
  • มีความยากลำบากในการใช้ภาษา
  • ไม่สามารสร้างประโยคได้
2.ความผิดปกติทางการพูดและภาษษอันเนื่องมาจากพยาธิสภาพที่สมองโดยทั่วไปเรียกว่า Dysphasia หรือ Aphasia

  •  อ่านไม่ออก ( Alexia )
  • เขียนไม่ได้  ( Agraphia )
        Gerstmann's Syndrome
  • ไม่รู้ชื่อนิ้ว ( Finger Agnosia )
  • ไม่รู้ซ้ายขวา ( Allochiria )
  • คำนวณไม่ได้ ( Acaiculia )
  • เขียนไม่ได้ ( Agraphia )
  • อ่านไม่ออก ( Alexia)

5.เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ
 ( Children With Physical And Health Impairments )


  • เด็กที่มีอวัยวะไม่สมส่วน
  • อวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งหายไป
  • เจ็บป่วยเรื้อรังรุนแรง
  • มีปัญหาทางระบบประสาท
  • มีความลำบากในการเคลื่อนไหว
โรคลมชัก  ( Epilepsy )


  • เป็นลักษณะอาการที่เกิดเนื่องจากความผิดปกติของระบบสมอง
  • มีกระแสไฟฟ้าที่ผิดปกติและมากเกินปล่อยออกมาจากเซลล์สมองพร้อมกัน
1.การชักในช่วงเวลาสั้นๆ ( Petit Mall )
2.การชักแบบรุนแรง  ( Grand Mall )
3.อาการชักแบบ  ( Partial Complex )
4.อาการไม่รู้สึกตัว  ( Focal Partial )

5.ลมบ้าหมุ (Grand Mall )



เมื่อเกิดอาการชักจะทำให้หมดสติ และหมดความรู้สึกในขณะชักกล้ามเนื้อเกร็ง หรือแขนขากระตุก กัดฟัน กัดลิ้น



 ซี.พี  ( Cerebral Palsy )




  • การเป็นอัมพาตเนื่องจากระบบประสาทสมองพิการ หรือ เป็นผลมาจากสมองที่กำลังพัฒนาถูกทำลายก่อนคลอด ระหว่างคลอดหรือหลังคลอด
  • การเคลื่อนไหว การพูด พัฒนาการล่าช้า เด็กซีพี มีความบกพร่องที่เกิดจากส่วนต่างๆของสมองแตกต่างกัน
1.กลุ่มแข็งเกร็ง Spastic
  •  Spastic Hemiplegia อัมพาตครึ่งซีก
  •  Spastic Diplegia อัมพาตครึ่งท่อนบน
  •  Spastic  Paraplegia อัมพาตครึ่งท่อนบน
  •  Spastic Quadriplegia อัมพาตทั้งตัว



3.กลุ่มอาการแบบผสม ( Mixed )
กล้ามเนื้ออ่อนแรง ( Muscular Distrophy )


  • เกิดจากเส้นประสาทสมองที่ควบคุมกล้ามเนื้อส่วนนั้นๆเสื่อมสลายตัว
  • เดินไม่ได้ นั่งไม่ได้ นอนอยู่กับที่
  • จะมีความพิการซ้อนในระยะหลัง คือ ความจำแย่ลง สติปัญญาเสื่อม
โรคทางระบบกระดูกกล้ามเนื้อ (Orthopedie)
ระบบกระดูกกล้ามเนื้อพิการแต่กำเนิด เช่น เท้าปุก  กระดูกข้อสะโพกเคลื่อน อัมพาตครึ่งท่อน เนื่องจากกระดูกไขสันหลังส่วนล่างไม่ติด 



                                                              โปลิโอ ( Poriomyelitis )


  • มีอาการกล้ามเนื้อลีบเล็ก แต่ไม่มีผลกระทบต่อสติปัญญา
  • ยืนไม่ได้ หรืออาจจะปรับสภาพให้ยืนเดินได้ด้วยอุปกรณ์เสริม

                                           แขนขาด้วนแต่กำเนิด ( Limb Deficiency )



ลักษณะของเด็กบกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ


  • มีปัญหาเกี่ยวกับการทรงตัว
  • ทาเดินคล้ายกรรไกร
  • เดินขากะเผลก หรือเชื่องช้า
  • ไอเสียงแห่งบ่อยๆ
  • หกล้มบ่อยๆ


2.skills (ทักษะ)

   
 มีการใช้คำถาม การยกตัวอย่างประกอบและให้นักศึกษาได้ฝึกการคิดวิเคราะห์ 
การสังเกต เพื่อกระตุ้นการเรียนรู้และให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดร่วมกัน  




4.technique  (เทคนิคที่อาจารย์ใช้สอน)
ให้นักศึกษามีความคิดที่หลากหลายการใช้คำถามนำไปคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ เรียนรู้การใช้คำถามเพื่อโยงเข้าสู่หลักบทเรียน


5. assessment (ประเมิน)

ประเมินตัวเอง      แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลาและมีส่วนร่วมในการตอบคำถามตั้งใจเรียนจดบันทึก

ประเมินเพื่อน     แต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา 

ประเมินห้องเรียน    ห้องเรียนสะอาด บรรยากาศน่าเรียน แอร์เย็น เก้าอี้เพียงพอต่อนักศึกษา 

ประเมินอาจารย์     เเต่งกายสุภาพ เข้าสอนตรงเวลาเตรียมตัวมาสอนด้วยความพร้อม 
 อธิบายการสอนให้เกิดความเข้าใจง่ายมากขึ้น